บุญเดือนยี่(เดือนสอง)หรือบุญคูณลาน  บุญคูณลาน เป็นการทำบุญขวัญข้าวที่น การแปล - บุญเดือนยี่(เดือนสอง)หรือบุญคูณลาน  บุญคูณลาน เป็นการทำบุญขวัญข้าวที่น อังกฤษ วิธีการพูด

บุญเดือนยี่(เดือนสอง)หรือบุญคูณลาน

บุญเดือนยี่(เดือนสอง)หรือบุญคูณลาน
บุญคูณลาน เป็นการทำบุญขวัญข้าวที่นวดเสร็จแล้วและกองไว้ในลานข้าวกำหนดทำในเดือนยี่จะเป็นข้างขึ้นหรือข้างแรมก็ได้ เหตุที่มีการทำบุญนี้เนื่องจากผู้ใดที่ทำนาได้ข้าวมากๆ ก่อนหาบหรือขนข้าวมาใส่ยุ้งฉางก็อยากทำบุญกุศล เพื่อเป็นสิริมงคลให้เพิ่มความมั่งมีศรีสุขแก่ตน และครอบครัวสืบไป
ที่สำหรับตีหรือนวดข้าว เรียกว่า ลานการเอาข้าวที่ตีแล้วมากองให้สูงขึ้น เรียกว่า คูนลาน หรือที่ เรียกกันว่าคูนข้าวชาวนาที่ทำนาได้ผลดีอยากได้กุศลให้ทานรักษาศีล เป็นต้นก็จัดเอาลานนข้าวเป็นสถานที่ทำบุญ การทำบุญในสถานที่ดังกล่าวเรียกว่าบุญคูนลานกำหนด เอาช่วงเดือนยี่เป็นเวลาทำบุญจึง เรียกว่า บุญเดือนยี่
" ฮีตหนึ่งนั้น พอแต่เดือนยี่ได้ล้ำล่วงมาเถิง
ให้พากันหาฟืนสู่คนโฮมไว้
อย่าได้ไลคองนี้ มันสิสูญเสียเปล่า
ข้าวและของหมู่นั้นสิหายเสี่ยงบ่ยัง
จงให้ฟังคองนี้แนวกลอนเฮาบอก
อย่าเอาใจออกแท้เข็นฮ้ายแล่นเถิงเจ้าเอย "


หลังการเก็บเกี่ยวจะทำบุญคูณข้าวหรือบุญคูณลาน นิมนต์พระสวดมนต์เย็น เพื่อเป็น มงคลแก่ข้าวเปลือก รุ่งเช้าเมื่อพระฉันเช้าแล้วจะทำพิธีสู่ขวัญข้าว นอกจากนี้ชาวบ้านจะเตรียม เก็บสะสมฟืนไว้หุงต้มที่บ้าน ดังคำโบราณว่า .... เถิงฤดูเดือนยี่มาฮอดแล้ว ให้นิมนต์พระสงฆ์ องค์เจ้ามาตั้งสวดมุงคูณเอาบุญคูณข้าว เตรียมเข้าป่าหาไม้เฮ็ดหลัว เฮ็ดฟืนไว้นั่นก่อน อย่าได้ หลงลืมถิ่น ฮีตของเก่าเฮาเดอ...
นิมนต์พระสวดมนต์เย็นเพื่อเป็นมงคลแก่ข้าวเปลือก แล้วทำพิธีสู่ขวัญข้าวนอกจากนี้ชาวบ้านเตรียมเก็บสะสมฟืนไว้หุงต้มที่บ้าน
คนอีสานเห็นคุณค่าและให้ความสำคัญแก่ไร่นา ข้าวและต้นข้าว เพราะเป็นแหล่งทำมาหากินที่สำคัญ วิถีชีวิตส่วนใหญ่ของคนอีสานอยู่ในท้องไร่ท้องนา อาชีพหลักก็เป็นอาชีพด้านการเกษตรกรรมโดยเฉพาะการทำนา


ในอดีตคนอีสานมีประเพณีและพิธีกรรมที่เกี่ยวกับข้าวถึง 9 ครั้ง ได้แก่
เมื่อข้าวเป็นน้ำนม
เมื่อข้าวเป็นข้าวเม่า
เมื่อเก็บเกี่ยว
เมื่อจักตอกมัดข้าว
เมื่อมัดฟ่อน
เมื่อกองอยู่ในลาน
เมื่อทำลอมข้าว
เมื่อเก็บข้าวเข้าเล้า

แต่ด้วยเหตุอันใดไม่ทราบจึงทำให้ประเพณีดังกล่าวสูญหายไปแทบไม่หลงเหลือให้เห็นอีก แต่ก็คงยังมีอยู่บางหมู่บ้านที่ยังคงอนุรักษ์ให้เป็นประเพณีของชุมชนอยู่ แต่ก็ดูไม่ยิ่งใหญ่และศักดิ์สิทธิ์อย่างแต่ก่อน

มีตำนานเกี่ยวกับการทำบุญคูณลานว่า

ในสมัยพุทธศาสนาของพระมหากัสสัปปะ มีชายสองพี่น้องทำนาอยู่ด้วยกัน จนเมื่อถึงเวลาที่จะต้องทำบุญครั้งแรกคือเมื่อข้าวเป็นน้ำนมน้องชายก็มาชวนผู้เป็นพี่ทำข้าวมธุปายาสถวายแด่พระภิกษุสงฆ์ แต่พี่ชายปฏิเสธ และเห็นว่าน้องไม่รู้จักอดออมเอาแต่จะทำบุญจึงแบ่งนากันทำคนละผืน

ผู้เป็นน้องทำบุญข้าวครบตามประเพณีทั้ง 9 ครั้ง และมีจิตศรัทธาในพระพุทธศาสนาเต็มเปี่ยม ในพระพุทธศาสนาของพระสมณโคดมจึงสำเร็จอรหันต์เป็นอัญญาโกณฑัญญะ ส่วนผู้เป็นพี่ชายก็ทำบุญข้าวแต่ทำเพียงครั้งเดียว จึงเกิดเป็นสุภัททปริภาชก สำเร็จเป็นองค์สุดท้าย เมื่อชาวอีสานทราบถึงอานิสงส์นี้จึงพากันทำบุญกันตามความเชื่อ

รายละเอียดขั้นตอนของพิธีกรรมจะเป็นที่ตกลงกันของสมาชิกในหมู่บ้าน โดยจะใช้บริเวณลานวัดเป็นที่ประกอบพิธี ซึ่งชาวบ้านจะนำข้าวเปลือกแบ่งจากส่วนของตนมากองรวมกันไว้ที่ลานที่จัดเอาไว้ เมื่อถึงเวลาประกอบพิธีก็จะนิมนต์พระมาสวด และก็ทำพิธีพราหมณ์ สู่ขวัญลานข้าว

กองข้าวที่ลานเป็นสัญญลักษณ์ที่แสดงถึงความมีน้ำใจ ชอบทำบุญทำกุศล และความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ทั้งยังหมายถึงความอุดมสมบูรณ์ของผลผลิตในปีนั้น ๆ อีกด้วย

คือถ้ากองข้าวที่ลานรวมกันกองใหญ่ก็จะหมายถึงความศรัทธาและมีน้ำจิตน้ำใจของผู้คนในหมู่บ้านนั้น และก็แสดงว่าฝนฟ้าในปีนั้นตกต้องตามฤดูกาล น้ำท่าอุดมสมบูรณ์ดีผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้จึงมากพอที่จะให้ชาวบ้านแบ่งปันมาทำบุญ

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
บุญเดือนยี่ (เดือนสอง) หรือบุญคูณลาน บุญคูณลาน เป็นการทำบุญขวัญข้าวที่นวดเสร็จแล้วและกองไว้ในลานข้าวกำหนดทำในเดือนยี่จะเป็นข้างขึ้นหรือข้างแรมก็ได้ เหตุที่มีการทำบุญนี้เนื่องจากผู้ใดที่ทำนาได้ข้าวมากๆ ก่อนหาบหรือขนข้าวมาใส่ยุ้งฉางก็อยากทำบุญกุศล เพื่อเป็นสิริมงคลให้เพิ่มความมั่งมีศรีสุขแก่ตน และครอบครัวสืบไป ที่สำหรับตีหรือนวดข้าว เรียกว่า ลานการเอาข้าวที่ตีแล้วมากองให้สูงขึ้น เรียกว่า คูนลาน หรือที่ เรียกกันว่าคูนข้าวชาวนาที่ทำนาได้ผลดีอยากได้กุศลให้ทานรักษาศีล เป็นต้นก็จัดเอาลานนข้าวเป็นสถานที่ทำบุญ การทำบุญในสถานที่ดังกล่าวเรียกว่าบุญคูนลานกำหนด เอาช่วงเดือนยี่เป็นเวลาทำบุญจึง เรียกว่า บุญเดือนยี่ "ฮีตหนึ่งนั้น พอแต่เดือนยี่ได้ล้ำล่วงมาเถิง ให้พากันหาฟืนสู่คนโฮมไว้อย่าได้ไลคองนี้ มันสิสูญเสียเปล่า ข้าวและของหมู่นั้นสิหายเสี่ยงบ่ยัง จงให้ฟังคองนี้แนวกลอนเฮาบอก อย่าเอาใจออกแท้เข็นฮ้ายแล่นเถิงเจ้าเอย " หลังการเก็บเกี่ยวจะทำบุญคูณข้าวหรือบุญคูณลาน นิมนต์พระสวดมนต์เย็น เพื่อเป็น มงคลแก่ข้าวเปลือก รุ่งเช้าเมื่อพระฉันเช้าแล้วจะทำพิธีสู่ขวัญข้าว นอกจากนี้ชาวบ้านจะเตรียม เก็บสะสมฟืนไว้หุงต้มที่บ้าน ดังคำโบราณว่า … … …. เถิงฤดูเดือนยี่มาฮอดแล้ว ให้นิมนต์พระสงฆ์ องค์เจ้ามาตั้งสวดมุงคูณเอาบุญคูณข้าว เตรียมเข้าป่าหาไม้เฮ็ดหลัว เฮ็ดฟืนไว้นั่นก่อน อย่าได้ หลงลืมถิ่น ฮีตของเก่าเฮาเดอ … …. นิมนต์พระสวดมนต์เย็นเพื่อเป็นมงคลแก่ข้าวเปลือก แล้วทำพิธีสู่ขวัญข้าวนอกจากนี้ชาวบ้านเตรียมเก็บสะสมฟืนไว้หุงต้มที่บ้านคนอีสานเห็นคุณค่าและให้ความสำคัญแก่ไร่นา ข้าวและต้นข้าว เพราะเป็นแหล่งทำมาหากินที่สำคัญ วิถีชีวิตส่วนใหญ่ของคนอีสานอยู่ในท้องไร่ท้องนา อาชีพหลักก็เป็นอาชีพด้านการเกษตรกรรมโดยเฉพาะการทำนาในอดีตคนอีสานมีประเพณีและพิธีกรรมที่เกี่ยวกับข้าวถึง 9 ได้แก่ ครั้งเมื่อข้าวเป็นน้ำนมเมื่อข้าวเป็นข้าวเม่าเมื่อเก็บเกี่ยวเมื่อจักตอกมัดข้าวเมื่อมัดฟ่อนเมื่อกองอยู่ในลานเมื่อทำลอมข้าวเมื่อเก็บข้าวเข้าเล้าแต่ด้วยเหตุอันใดไม่ทราบจึงทำให้ประเพณีดังกล่าวสูญหายไปแทบไม่หลงเหลือให้เห็นอีก แต่ก็คงยังมีอยู่บางหมู่บ้านที่ยังคงอนุรักษ์ให้เป็นประเพณีของชุมชนอยู่ แต่ก็ดูไม่ยิ่งใหญ่และศักดิ์สิทธิ์อย่างแต่ก่อนมีตำนานเกี่ยวกับการทำบุญคูณลานว่าในสมัยพุทธศาสนาของพระมหากัสสัปปะ มีชายสองพี่น้องทำนาอยู่ด้วยกัน จนเมื่อถึงเวลาที่จะต้องทำบุญครั้งแรกคือเมื่อข้าวเป็นน้ำนมน้องชายก็มาชวนผู้เป็นพี่ทำข้าวมธุปายาสถวายแด่พระภิกษุสงฆ์ แต่พี่ชายปฏิเสธ และเห็นว่าน้องไม่รู้จักอดออมเอาแต่จะทำบุญจึงแบ่งนากันทำคนละผืนผู้เป็นน้องทำบุญข้าวครบตามประเพณีทั้ง 9 ส่วนผู้เป็นพี่ชายก็ทำบุญข้าวแต่ทำเพียงครั้งเดียว ในพระพุทธศาสนาของพระสมณโคดมจึงสำเร็จอรหันต์เป็นอัญญาโกณฑัญญะ และมีจิตศรัทธาในพระพุทธศาสนาเต็มเปี่ยม ครั้ง จึงเกิดเป็นสุภัททปริภาชก สำเร็จเป็นองค์สุดท้าย เมื่อชาวอีสานทราบถึงอานิสงส์นี้จึงพากันทำบุญกันตามความเชื่อรายละเอียดขั้นตอนของพิธีกรรมจะเป็นที่ตกลงกันของสมาชิกในหมู่บ้าน โดยจะใช้บริเวณลานวัดเป็นที่ประกอบพิธี ซึ่งชาวบ้านจะนำข้าวเปลือกแบ่งจากส่วนของตนมากองรวมกันไว้ที่ลานที่จัดเอาไว้ เมื่อถึงเวลาประกอบพิธีก็จะนิมนต์พระมาสวด และก็ทำพิธีพราหมณ์ สู่ขวัญลานข้าวกองข้าวที่ลานเป็นสัญญลักษณ์ที่แสดงถึงความมีน้ำใจ ชอบทำบุญทำกุศล และความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ทั้งยังหมายถึงความอุดมสมบูรณ์ของผลผลิตในปีนั้น อีกด้วย ๆคือถ้ากองข้าวที่ลานรวมกันกองใหญ่ก็จะหมายถึงความศรัทธาและมีน้ำจิตน้ำใจของผู้คนในหมู่บ้านนั้น และก็แสดงว่าฝนฟ้าในปีนั้นตกต้องตามฤดูกาล น้ำท่าอุดมสมบูรณ์ดีผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้จึงมากพอที่จะให้ชาวบ้านแบ่งปันมาทำบุญ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: